"รอยร้าว" แบบไหนอันตราย ศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวฯ แนะวิธีสังเกตความเสียหายของอาคาร

Last updated: 7 เม.ย 2568  |  81 จำนวนผู้เข้าชม  | 

"รอยร้าว" แบบไหนอันตราย ศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวฯ แนะวิธีสังเกตความเสียหายของอาคาร

"รอยร้าว" แบบไหนอันตราย ศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวฯ แนะวิธีสังเกตความเสียหายของอาคาร
(28 มี.ค. 68) จากกรณีเหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 8.2 ความลึก 10 กิโลเมตร เมื่อเวลา 13.20 น. ศูนย์กลางบริเวณเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา จนส่งผลแรงสั่นสะเทือนถึงประเทศไทยในหลายพื้นที่ มีตึกอาคารถล่ม มีผู้ได้รับบาดเจ็บ-เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมากซึ่งภายหลังเกิดเหตุ ตามอาคารบ้านเรือนหลายแห่งพบรอยร้าว สร้างความวิตกกังวลว่าอาจเกิดอันตรายตามมา ทางเฟซบุ๊ก Earthquake TMD ของศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวแห่งชาติ ได้เผยแพร่ภาพและข้อมูลให้ความรู้เรื่องการประเมินความเสียหายอาคารเบื้องต้นจากแผ่นดินไหว ทั้งในส่วนของพื้น คาน เสา และกำแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก ว่ารอยร้าวแบบใดอันตรายในระดับไหน





ขอขอบคุณที่มา https://www.facebook.com/EarthquakeTMD  https://www.sanook.com/  

 

บทความเกี่ยวกับการ แผ่นดินไหว อื่นๆ ที่น่าสนใจ

     วิธีตรวจสอบอาคารเบื้องต้นหลังเกิดแผ่นดินไหว จากสถาปัตย์ จุฬาฯ
     แนวทางจัดการโครงสร้างเสียหาย  เมื่อบ้านเสียหาย จาก แผ่นดินไหว โดย รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
     10 ข้อแนะนำการก่อสร้างบ้าน ป้องกัน แผ่นดินไหว
     หลังแผ่นดินไหว ควรตรวจเช็คโครงสร้างของบ้านที่อยู่อาศัยว่ามีรอยแตกร้าวที่ผิดปกติหรือไม่ โดยเราสามารถแบ่งรอยร้าวจากแผ่นดินไหวได้ตามนี้ค่ะ

 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้